     |
|
 |
|
สังกัดเทศบาลตำบลวังชิ้น มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนี้ |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลวังชิ้น |
|
มีจำนวนนักเรียน 46 คน |

 |
ผู้ดูแลเด็ก/ผู้ช่วยครู จำนวน 3 คน |
โรงเรียนในเขตเทศบาลตำบลวังชิ้น สังกัด สพท.แพร่ เขต 2
จำนวน 2 แห่ง (ปี 2553) |

 |
โรงเรียนบ้านใหม่ (สมบัติทวีประชาสรรค์) |

 |
โรงเรียนบ้านนาใหม่ |
|
|
     |
|
 |
|

 |
โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ คือ โรงพยาบาลรัฐบาล จำนวน 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลวังชิ้น เตียงคนไข้ 30 เตียง |

 |
คลินิกเอกชน จำนวน 1 แห่ง |

 |
สถานพยาบาล จำนวน 1 แห่ง |

 |
รถเก็บขยะ จำนวน 1 คัน |

 |
รถพยาบาลเคลื่อนที่เร็ว จำนวน 1 คัน |

 |
โรงฆ่าสัตว์ ตามแบบมาตรฐานของกรมปศุสัตว์ จำนวน 1 แห่ง |

 |
อัตราการมีและการใช้ส้วมราดน้ำคิดเป็น
ร้อยละ 100 |
|
|
     |
|
 |
|

 |
สถานีตำรวจชุมชน |
จำนวน |
2 |
แห่ง |

 |
รถกู้ภัย |
จำนวน |
1 |
คัน |

 |
รถดับเพลิง |
จำนวน |
2 |
คัน |
|
|
ความจุ |
10,000 |
ลิตร |

 |
รถน้ำ |
จำนวน |
1 |
คัน |
|
|
ความจุ |
10,000 |
ลิตร |

 |
รถกระเช้า |
จำนวน |
1 |
คัน |
|
|
     |
|
 |
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตำบลวังชิ้น นับถือศาสนาพุทธ โดยมีการนับถือศาสนาอื่นบ้างเล็กน้อย
ได้แก่ ศาสนาคริสต์ ปัจจุบันมีศาสนสถาน จำนวน 3 แห่ง ดังนี้ |
|
|
|

 |
วัดบางสนุก |
หมู่ที่ 7 |
ตำบลวังชิ้น |
|
|

 |
วัดนาใหม่ |
หมู่ที่ 8 |
ตำบลวังชิ้น |
|
|

 |
วัดใหม่กลาง |
หมู่ที่ 10 |
ตำบลวังชิ้น |
|
|
     |
|
 |
|
ประชากรส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลจะยืดถือตามประเพณีดั้งเดิม ซึ่งเกี่ยวกับชีวิตของคนไทย เช่น ประเพณี
การบวช ( ชาวแพร่นิยมเรียกว่า “ปอย” ) ประเพณีการทำศพ ฯลฯ และที่แตกต่างจากประเพณีของชาวไทยในภาค
อื่น ๆ อย่างเห็นได้ชัด เช่น ประเพณีเท้าทั้งสี่ ประเพณีเอาขวัญ (เรียกขวัญหรือบายศรีสู่ขวัญ) ประเพณีสืบชะตา
ส่วนประเพณีที่เกี่ยวกับศาสนา เช่น ประเพณีแห่ครัวทานเข้าวัด ประเพณีทานก๋วยสลาก ประเพณีทานขันข้าว
(ถวายอาหารพระอุทิศส่วนกุศลให้คนตาย) ประเพณีเทศน์มหาชาติ ซึ่งพิธีกรรมก็ไม่แตกต่างจากจังหวัดอื่นใน
ภาคเหนือมากนักในส่วนของประเพณีที่เกี่ยวกับเทศกาล เช่น ประเพณีแข่งเรือลอยกระทง เทศกาลสงกรานต์
หล่อเทียนพรรษา |
|
|
     |
|
 |
|
จะมีรูปแบบของชาวล้านนาไทยทั่วไป เช่น ด้านดนตรี ดนตรีพื้นบ้าน จะประกอบด้วย สะล้อ ซอ ซึง และ
กองอืด ส่วนศิลปะการฟ้อนรำ มีฟ้อนเล็บ ฟ้อนกลองอืด ฟ้อนเทียน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีศิลปหัตถกรรม เช่น
จักสานเถาวัลย์ เครื่องใช้ประดับตกแต่งบ้านเรือน |
|
|
     |
|
 |
|
ในด้านวัฒนธรรมการกินอยู่ ประชาชนส่วนใหญ่ จะบริโภคข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก รับประทาน
อาหารพื้นเมือง วัฒนธรรมการแต่งกาย ผ้าพื้นเมืองที่มีชื่อของชาวแพร่ คือ ผ้าหม้อห้อม และวัฒนธรรม
การซอ การจ๊อย
การเล่าค่าว |
|
|